您现在的位置是:DailyThai > ฮอตสปอต
【ufa188bet】‘ข้อกังวล’ก็ยังมีไม่เบา ‘เท่าเทียมทางเพศ’ แต่งได้ก็‘ยังมีโจทย์??’ | เดลินิวส์
DailyThai2025-02-08 01:13:44【ฮอตสปอต】0人已围观
简介ทั้งนี้ กฎหมายสมรสเท่าเทียมมีผลบังคับใช้วันแรกเมื่อวันที่ 23 ม.ค. 2568 ที่ผ่านมา โดยทางกระทรวงมหาดไท ufa188bet
ทั้งนี้ กฎหมายสมรสเท่าเทียมมีผลบังคับใช้วันแรกเมื่อวันที่ 23 ม.ค. 2568 ที่ผ่านมา โดยทางกระทรวงมหาดไทยมีการเผยไว้ว่าแค่วันแรกที่มีการเปิดให้จดทะเบียนสมรสเท่าเทียมก็มีคู่รักมาจดทะเบียนมากกว่า 1,754 คู่ และภาพที่น่าชื่นใจสำหรับ “กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ” ในไทยก็ปรากฏขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลังจากเรื่องนี้มีการ “รณรงค์เรียกร้องมายาวนาน” จนถึงจุดที่เป็นความสำเร็จ เป็นความก้าวหน้าอีกเรื่องหนึ่งของประเทศไทยในประเด็น “สิทธิเท่าเทียมทางเพศ” ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์“การเปิดกว้างยอมรับ” ในสังคมไทย
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์ต่อ “ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ”
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์จิตติมา ภาณุเตชะ
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์อย่างไรก็ตาม กรณี “สิทธิเท่าเทียมทางเพศ”ก็ยังมีการบ้านอีกหลาย ๆ เรื่องที่ไทยยังต้องปลดล็อก ในมุมมองของ จิตติมา ภาณุเตชะ ในฐานะนายก สมาคมเพศวิถีศึกษา ที่ได้สะท้อนผ่าน “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” เอาไว้ถึง “สิ่งที่ต้องกังวลและต้องสานต่อ” ในปี 2568 นี้ เพื่อให้เกิดสิทธิเท่าเทียมทางเพศที่แท้จริงซึ่งมีประเด็นใดบ้าง?? ลองมาพินิจพิจารณากัน
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์จิตติมา นายกสมาคมเพศวิถีศึกษา ได้สะท้อนกับ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” มาว่า ยังคงเป็นห่วงเกี่ยวกับสถานการณ์ด้านสิทธิเท่าเทียมทางเพศ ถึงแม้ปีนี้กฎหมายสมรสเท่าเทียมจะใช้งานจริงแล้วก็ตาม แต่ในแง่ โครงสร้างเชิงระบบรองรับ ยังไม่สมบูรณ์พอ เพราะแม้กฎหมายออกมาแล้ว แต่ ระบบหรือระเบียบต่าง ๆ ที่จะรองรับก็ยังไม่ได้ขยับตามกฎหมายมากสักเท่าไหร่นัก ซึ่งเรื่องนี้คงต้องเฝ้าติดตามดูต่อไปว่า จะมีความก้าวหน้าเพิ่มอย่างไร?? หลังกฎหมายบังคับใช้แล้ว
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์นอกจากนั้น แม้ในเชิงกฎหมายจะเปิดกว้างให้คู่รักผู้มีความหลากหลายทางเพศสามารถจดทะเบียนสมรสได้ หากแต่ “มิติด้านครอบครัว” ก็ “ยังคงมีคำถาม??” เนื่องจาก ในแง่ “ความเป็นครอบครัว” นั้น “ไม่ได้มีแค่มิติทางกฎหมาย” อย่างเดียว หากแต่ ยังมีมิติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคู่สมรสเท่าเทียม ตั้งแต่เรื่องการรับรองบุตร การมอบมรดก การกู้ยืมสินเชื่อจากสถาบันการเงิน รวมถึงเรื่องการศึกษากับสิทธิรักษาพยาบาล ซึ่งไม่แน่ใจว่าจะขยับทันกฎหมายแค่ไหน??
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์“ประเด็นเหล่านี้ยังเป็นข้อกังวลสำหรับคู่รักเท่าเทียมหลายคู่ เพราะทุกคนไม่แน่ใจว่า กระบวนการรองรับ หรือรับรองนั้นได้มีการขยับตามกฎหมายหรือไม่??และที่ห่วงกันมากอีกเรื่องก็คือยังไม่แน่ใจว่าหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะสามารถปรับตัวตามได้แค่ไหน?? ในระยะแรกหลังกฎหมายมีผลบังคับใช้ ซึ่งจริง ๆ กฎหมายออกมาใช้แล้ว กฎหรือระเบียบต่าง ๆ ก็ควรขยับไปพร้อมกันเลย” เป็น “ข้อกังวล” ที่นายกสมาคมเพศวิถีศึกษาสะท้อนไว้
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์อีกทั้งยังรวมถึงประเด็นเกี่ยวกับ “สิทธิการรับรองผู้หลากหลายทางเพศ” โดยทาง จิตติมา สะท้อนประเด็นนี้กับ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” มาว่า “สิทธิในการสร้างครอบครัว” นั้น “เป็นหมุดหมายหนึ่งที่สำคัญ” ซึ่งก็จะต้องไม่ลืมว่า คนทุกคน ไม่ว่าจะเพศอะไร ทุกคนควรต้องมีทางเลือกในการใช้ชีวิตของตัวเองได้ ที่ไม่ใช่จำกัดแค่การจดทะเบียนสมรสอย่างเดียวจึงจะได้สิทธิในการสร้างครอบครัวได้ ซึ่งประเด็นนี้เป็นสิ่งที่กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศส่วนใหญ่ล้วนต้องการมาก ๆ ที่จะได้รับการรับรองเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของตน โดยเรื่องนี้ในแง่กฎหมายก็กำลังมีการรณรงค์เรียกร้องเกี่ยวกับสิทธิตรงนี้กันอยู่ เพื่อให้มี พ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศเกิดขึ้น เพื่อช่วยให้บางคนไม่ต้องเสียสิทธิที่ควรได้รับ
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์“กฎหมายนี้เป็นอีกเรื่องที่เรากำลังเรียกร้อง เพื่อไม่ให้บางคนสูญเสียสิทธิที่ควรจะได้ไป เช่น คนที่เคยเป็นชายแต่เปลี่ยนเป็นหญิง หรือหญิงเปลี่ยนเป็นชาย ซึ่งกฎหมายนี้มีความจำเป็น เพราะยิ่งในปัจจุบันนี้เรามีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามาก ก็มีโอกาสที่จะทำให้เกิดคนที่เป็นคนข้ามเพศ หรือทรานส์เจนเดอร์ ได้เยอะขึ้น” ทาง จิตติมา ระบุ
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์พร้อมทั้งย้ำว่า เมื่อกฎหมายยอมรับคู่สมรสเพศหลากหลายแล้ว ก็ควรปลดล็อกเกี่ยวกับอัตลักษณ์ด้วย เช่นกัน ซึ่งเรื่องนี้เป็นปัญหาสำหรับ กลุ่มทรานส์เจนเดอร์ มาก ๆ เช่น แม้จะเปลี่ยนแปลงเพศแล้ว แต่กฎหมายยังไม่รองรับเพศที่เปลี่ยน ทำให้เกิดปัญหา เช่นเวลาที่ต้องเดินทาง ก็มักไม่สะดวกและอึดอัดใจ เพราะรูปในเอกสารเป็นเพศหนึ่ง แต่ตัวจริง ๆ เป็นอีกเพศหนึ่ง ทำให้เกิดความย้อนแย้ง ซึ่งความเคลื่อนไหวตอนนี้ ภาคประชาสังคมก็มีการเสนอร่าง พ.ร.บ. นี้เข้าสู่สภาไปแล้ว
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์ขณะที่ อีกข้อกังวลก็คือ “กระบวนการสร้างความเข้าใจ” ที่เป็นเรื่องที่ยังต้องมอนิเตอร์ต่อไปว่า เอาเข้าจริง ๆ สังคมเปิดกว้างยอมรับความหลากหลายทางเพศได้จริงหรือไม่?? เพราะแม้กฎหมายยอมรับแล้ว แต่เชิง “มิติทางสังคม” เรื่องนี้ “ยังเป็นปุจฉา” ซึ่ง จิตติมา ยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นภาพว่า ในแวดวงราชการจะมีธรรมเนียมเชิญคู่สมรสไปออกงาน-ร่วมงาน แต่กรณีคู่เพศหลากหลาย ก็มีคำถามว่า จะได้รับเชิญเหมือนคู่สมรสชายหญิงหรือไม่?? นี่ก็ “ประเด็นน่าคิด”
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์“เหล่านี้คือเรื่องที่ยังกังวล แม้ปีนี้จะเป็นปีแรกของกฎหมายสมรสเท่าเทียมแล้วก็ตาม โดยยังมีสถานการณ์ที่ต้องติดตามอีกหลาย ๆ เรื่อง ทั้งในเรื่องของกฎหมายเกี่ยวเนื่อง ทั้งการสร้างความเข้าใจให้สังคม เพื่อขยับไปทั้งองคาพยพ” เป็น “ข้อห่วงใย” ที่นายกสมาคมเพศวิถีศึกษาได้ระบุไว้ แม้ปี 2568 นี้เป็นปีแรกที่มีการสมรสเท่าเทียมแล้ว
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์เอาเข้าจริง “มีอีกหลายประเด็นปุจฉา”
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์สำหรับ “กรณีสิทธิเท่าเทียมทางเพศ”
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์ที่ “ไทยมีโจทย์สำคัญอีกหลายข้อ??”.
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ข้อกังวลก็ยังมีไม่เบาเท่าเทียมทางเพศแต่งได้ก็ยังมีโจทย์เดลินิวส์很赞哦!(8595)
相关文章
- "ตั้ม โชคอนันต์"ปลุกความเชื่อสุดลึกลับใน"นาคบรรพ์"โยงตำนานเชื่อมสงครามโลกครั้งที่2 | เดลินิวส์
- พาน้องสาว-น้องชายลุยน้ำท่วม จะอันตรายไหมนะ? | เดลินิวส์
- เลยอ่วมฝนตกหนักน้ำป่าทะลัก ท่วมบ้านเรือนประชาชนกว่า100หลัง | เดลินิวส์
- วันที่รอคอย! ลุงวัย 86 ปลูกป่า 30 กว่าปี รอมาทั้งชีวิต ได้รับอนุญาตให้ตัดได้แล้ว | เดลินิวส์
- “ฉันอยากเป็นคุณครูสอนเด็กประถม ไม่ก็พยาบาล” WINTER วง aespa เผยอาชีพ
- ทัวร์ลง! 'วันเดอร์เฟรม' ดึง 'แน็ก ชาลี' ร่วมงานเพลง ชาวเน็ตถล่มยับ-แห่แบนสนั่น | เดลินิวส์
- มาแน่! 'YG Entertainment'คอนเฟิร์มแล้ว 'Blackpink' คัมแบ๊ก-เวิลด์ทัวร์ปี 2025 | เดลินิวส์
- 'น้องแสนดี' ลูก 'เปาวลี' เอาใจคอหวยชูนิ้วใบ้เลขเด็ดชัดๆ งานนี้มีลุ้น! | เดลินิวส์
- ปัญหา ‘หมอจบใหม่’ ลาออก | เดลินิวส์
- การ์ตูน โดย ขวด วันที่ 24 กันยายน 2567 | เดลินิวส์
热门文章
站长推荐
ตาวัย74กลุ้ม! อยากเสพสุขกับภรรยาแต่เธอเจ็บมาก ควรทำอย่างไรดี | เดลินิวส์
"หลิงหลิง-ออม"ปล่อยภาพฟิตติ้ง"เพียงเธอ Only you"เอาใจแฟนๆชวนจิ้นต่อเนื่อง | เดลินิวส์
"มิลลี่-อภิสรา"จิ้นคู่"อั๋น อัครพรรฒ"เคมีงอนง้อโรแมนติกทำแฟนๆฟินกระจาย | เดลินิวส์
Queen Woo บทเรียนราคาแพง (มาก) ของความสะเปะสะปะที่ฉากเซ็กซ์ก็ไม่อาจเยียวยา
สู้ยิบตาเดิมพัน อบจ.เชียงใหม่ | เดลินิวส์
รุ่นใหญ่ไฟแรง! คุณปู่วัย 74 ช่วยตัวเอง สัปดาห์ละ3ครั้งข้องใจจะมีอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ | เดลินิวส์
ตูน หิ้วหวี เปิดใจเป็นครั้งแรก หลังป่วยด้วย โรคมะเร็งอัณฑะ
"PUN"ปล่อยอัลบั้มแรกในชีวิต ผ่าน 14 บทเพลง ชวนแฟนๆรู้จักตัวตนผ่านงานศิลปะ | เดลินิวส์