您现在的位置是:DailyThai > ฮอตสปอต

【คะแนนลีกทู】‘เสี่ยงสูง’นี่ก็ต้องใส่ใจ ‘ภาวะหมดไฟ’ รวม‘บุคลากรแพทย์’ | เดลินิวส์

DailyThai2025-01-20 16:55:53【ฮอตสปอต】7人已围观

简介อย่างเมื่อช่วงก่อนปีใหม่ก็มีคุณหมอท่านหนึ่งโพสต์ “ความรู้สึก” ในเชิง “หดหู่ใจ” เกี่ยวกับระบบตรวจรักษ คะแนนลีกทู

อย่างเมื่อช่วงก่อนปีใหม่ก็มีคุณหมอท่านหนึ่งโพสต์ “ความรู้สึก” ในเชิง “หดหู่ใจ” เกี่ยวกับระบบตรวจรักษาคนไข้ที่มีบางประเด็นปัญหาทำให้คนไข้ไม่ได้รับการดูแลอย่างที่ควรจะเป็น แล้วก็ตามมาด้วยการแชร์ข้อมูลเกี่ยวกับ “บุคลากรการแพทย์ในไทย” ว่า

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

“บุคลากรการแพทย์” ต่างก็ “อ่อนล้า”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ทั้งจาก “ภาระงานหนัก” จาก “ระบบ”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

“สุ่มเสี่ยงสูง” ที่จะ “เกิดภาวะหมดไฟ”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

เกี่ยวกับปัญหาเรื่องนี้ อันที่จริงก็ไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะแค่ในประเทศไทย หากแต่ทั่วโลกก็กำลังเผชิญปัญหานี้เช่นกัน โดยมุมสะท้อนต่อกรณีปัญหาดังกล่าวนี้ก็ได้มีการฉายภาพปัญหาไว้ผ่านทางบทความวิจัยชื่อ “ภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ : การสร้างพลังใจ” โดย นริสา วงศ์พนารักษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่มีการตีพิมพ์ใน วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 เดือน ม.ค.-มี.ค. 2567 ซึ่งมีภาพสะท้อนเกี่ยวกับเรื่องนี้น่าสนใจ ที่ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” นำข้อมูลมาสะท้อนต่อ ณ ที่นี้ เพื่อร่วมสะท้อนภาพ “สถานการณ์น่าเป็นห่วง!!” โดยข้อมูลกรณี “ภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์” โดยสังเขปมีดังนี้

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ในบทความวิจัยดังกล่าวระบุไว้ว่า ภาวะหมดไฟในการทำงาน (occupational phenomenon) นั้นเป็น ภาวะที่บุคคลได้รับแรงกดดันจากการทำงานเป็นเวลานาน และเป็นกลุ่มอาการที่เป็นผลจากความเครียดเรื้อรังจากการทํางานที่ไม่ได้รับการแก้ไขจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยภาวะหมดไฟไม่ใช่โรค แต่เป็นปรากฏการณ์เหตุการณ์เกี่ยวกับอาชีพ ซึ่ง เป็นปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาวะ ที่อาจจะนําไปสู่ภาวะต่าง ๆ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล โรคนอนไม่หลับ โดยจะมีพฤติกรรม มีการแสดงออกที่ผิดปกติ ทั้งด้านร่างกายและด้านจิตใจ จน ส่งผลเสียทั้งต่อบุคคลและต่อองค์กร

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

และสำหรับ “ภาวะหมดไฟ” ในวงการ “บุคลากรการแพทย์” นั้น ในบทความวิจัยสะท้อนไว้ว่า กําลังเป็นปัญหาสําคัญของระบบสาธารณสุขทั่วโลก ซึ่งพบว่า บุคลากรทางการแพทย์เป็นกลุ่มที่มีภาวะหมดไฟอยู่ในระดับสูง โดยที่ พลังใจเป็นปัจจัยสำคัญในการป้องกันและฟื้นคืนสภาพจากภาวะหมดไฟในการทำงาน ซึ่งบทความงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอภาวะหมดไฟในการทำงาน และเสนอแนะกลยุทธ์สร้างพลังใจ ให้กับกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ทั้งนี้ “ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง” กับ “ภาวะหมดไฟในกลุ่มบุคลากรการแพทย์” มีการระบุไว้ว่า มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้คือ 1.จากปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ อาชีพ เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทํางาน ความยืดหยุ่นทางจิตใจ ปัญหาสุขภาพ การมีโรคประจําตัว, 2.จากปัจจัยการทํางาน ได้แก่ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน การเคยคิดลาออกจากอาชีพ จํานวนชั่วโมงทํางานต่อวัน ความก้าวหน้าและความมั่นคง และสัมพันธภาพในที่ทำงาน, 3.จากปัจจัยชีวิตความเป็นอยู่ ได้แก่ สถานภาพทางเศรษฐกิจ ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว ภาระครอบครัว เป็นต้น

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

เหล่านี้เป็น “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ที่มีส่วน “ส่งผลให้เกิดภาวะหมดไฟ!!”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ในบทความโดย นริสา วงศ์พนารักษ์ ยังระบุไว้อีกว่า ภาวะหมดไฟไม่ได้เกิดขึ้นเฉียบพลัน แต่ค่อย ๆ ก่อตัวขึ้นเป็นระยะ ๆ โดย “วิธีสังเกตอาการ” ที่แสดงว่า “กำลังมีภาวะหมดไฟ” สามารถสังเกตได้ดังนี้คือ มีความอ่อนล้าทางอารมณ์เช่น หมดกำลังใจบ่อย ๆ ไม่กระตือรือร้น โดยเป็นอาการที่สังเกตง่ายที่สุด และเป็นอาการในระยะเริ่มต้นที่แก้ไขได้, การเมินเฉยต่องานเริ่มมีความรู้สึกทางลบกับเพื่อนร่วมงาน มองความสัมพันธ์ในที่ทํางานไปในทางลบ รู้สึกเหินห่างจากคนอื่น หรือมักจะขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงานบ่อย ๆ โดยเป็นอาการต่อเนื่องจากความรู้สึกอ่อนล้าทางอารมณ์ ที่ก็ยังสามารถแก้ไขได้เช่นกัน

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

อีกจุดสังเกตคือ ความสามารถในการทำงาน ที่เป็นความรู้สึกทางลบต่อตนเอง ผู้ที่มีภาวะหมดไฟในการทำงานจะมองความสามารถในการทำงานของตนเองในเชิงลบ หรือขาดความรู้สึกที่อยากจะประสบความสำเร็จ ซึ่งอาการนี้เกิดจากการที่ตนเองมีความรู้สึกทางลบต่อผู้อื่นและต่องานที่รับผิดชอบอยู่ ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง หรือรู้สึกไม่สนุกกับการทำงาน และมักจะมองเห็นคุณค่าในตนเองลดลง นี่เป็น “3 อาการหลัก” สำหรับใช้เป็น “หลักสังเกต” ภาวะนี้

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ส่วน “ข้อเสนอแนะ” เพื่อ “แก้ไขภาวะหมดไฟ” ก็มีการให้แนวทางไว้ว่า ทำได้ด้วยการนำวิธีเหล่านี้มาใช้ อาทิ ฝึกทักษะจัดการความเครียด โดยการพิจารณาข้อดีข้อเสียของการลาออก หรือค้นหาและวางแผนชีวิตตามเป้าหมายที่เลือก, ใช้หลัก 3 ประการ (3R)ได้แก่ การตรวจประเมิน การปรับแก้ไข และการฟื้นฟูหรือสร้างพลังใจ ให้พร้อมรับมือความเครียดได้ดีกว่าเดิม, จัดการกับภาระงาน เช่น จัดสรรเวลาทำงาน หรือองค์กรต้องสร้างแรงจูงใจในการทำงาน เช่น การเพิ่มค่าตอบแทน รางวัล และการช่วยให้เห็นถึงโอกาสความก้าวหน้าในวิชาชีพ นี่เป็นแนวทาง “แก้ภาวะหมดไฟ” ที่“องค์กรก็ต้องใส่ใจ”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

“บุคลากรการแพทย์” นั้นไม่ใช่แค่หมอ

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ในระบบ “มีหลายฝ่าย มีจำนวนมาก”

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

การ “พัฒนาไม่ให้หมดไฟ ก็สำคัญ”.

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

ทีมสกู๊ปเดลินิวส์

เสี่ยงสูงนี่ก็ต้องใส่ใจภาวะหมดไฟรวมบุคลากรแพทย์เดลินิวส์

很赞哦!(5259)

相关文章

站长推荐